News & Activities

คณะกรรมการมูลนิธิเกษตรรักษ์สิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย) พร้อมด้วยบุคลากรมูลนิธิฯ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการมูลนิธิสมัยสามัญ ครั้งที่ 1/2567
72 Visitor
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่ทรงห่วงใยต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและของโลก พร้อมทั้งตรัสเตือนพสกนิกรให้ร่วมมือกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง ด้วยความสุขุมรอบคอบ
102 Visitor

บทความ

บทความทางการเกษตรที่แบ่งปันสาระดี ๆ เกี่ยวกับพืชผัก ผลไม้ สมุนไพร ไม้ดอกไม้ประดับ โรคพืช ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร รวมถึงปศุสัตว์และแมลงเศรษฐกิจ
1012 Visitor

YouTube

Our Projects

Post Date : 
2021-03-11
สาเหตุหลักที่ทำลายพื้นที่ป่าอย่างรวดเร็ว และเป็นการทำลายสภาพสมดุลของระบบนิเวศอย่างมหาศาล คือไฟป่าซึ่งให้เกิดการสูญเสียโครงสร้างของป่า และระบบนิเวศป่าไม้ นอกจากการเกิดไฟป่าก่อให้เกิดผลกระทบต่อการทำลายป่าให้เหลือลดน้อยลงแล้ว ยังก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศ และภัยแล้งตามมาอีกด้วย อีกทั้งไฟป่ายังเป็นสาเหตุหลักของการทำลายแหล่งเก็บกักก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นก๊าซที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ทำให้เกิดความผันแปรของสภาวะภูมิอากาศของโลก (Climate Change) ส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน (Global Warming ) ดังนั้นไฟป่าจึงเป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหา เพื่อลดผลกระทบต่าง ๆ  ที่เกิดขึ้นตามมา
2296 Visitor

My Media

ผลผลิตดีเกินขาด 3 ปีที่ลดการเผา ปีนี้ผลผลิต​สวย​ น้ำหนักดี #ช่วยกันแชร์ให้ถึงโลกพระจันทร์ เกษตรกรทำดีแล้วขอราคาดีดีให้พวกเขาด้วยนะครับ 😁
คลื่นความร้อนได้พรากชีวิตมนุษย์ไปหลายร้อยชีวิต ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากภาวะโลกร้อน วันนี้มูลนิธิเกษตรรักษ์สิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย) ขอเชิญชวนพี่น้องชาวนามาร่วมกันทำนาแบบเปียกสลับแห้ง เพื่อลดก๊าซมีเทนหรือก๊าซเรือนกระจกด้วยกันนะครับ เพื่อโลก เพื่อเรา 👍
วันพฤหัสบดี ที่ 24 มิถุนายน 2564 เจ้าหน้าที่มูลนิธิเกษตรรักษ์สิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย) อ.วังเหนือ จ.ลำปาง (นายวชิรวิทย์ ไชยวงศ์) นำตัวแทนชาวบ้านเมืองทอง หมู่ที่ 8 ต.วังทอง อ.วังเหนือ จ.ลำปาง จำนวน 6 ราย เดินทางไปรับกล้าพันธ์ุไม้ สถานีเพาะชำกล้าไม้จังหวัดลำปาง ต.บ้านหวด อ.งาว จ.ลำปาง โดยทางมูลนิธิเกษตรรักษ์สิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย) ได้สนับสนุนค่าน้ำมันรถรวมเป็นเงิน 2,800 บาท เพื่อสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยว มาเป็นการปลูกไม้ผล และไม้ป่าทดแทนการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพื่อเป็นการสร้างป่าถาวร เพิ่มพื้นที่สีเขียว ฟื้นฟูระบบนิเวศ สร้างความชุมชื้น ลดพื้นที่การเผา ลดหมอกวันไฟป่า PM 2.5 สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร และลดการใช้สารเคมีบนพื้นที่การเกษตร จำนวนกล้าพันธุ์ไม้ที่ได้รับทั้งหมดรวม 3,135 กล้า
Create a website for free Online Stores