Our Projects

Our Projects

9 Items
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรลดการเผาในพื้นที่การเกษตร ผ่านโครงการอบรมเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อนำสินค้าเกษตรเข้าสู่ตลาดออนไลน์ "อุ๊ยคำช้อปปิ้ง" www.ouikum.com โดยความร่วมมือจากศูนย์ประสานงานเครือข่ายของมูลนิธิเกษตรรักษ์สิ่งแวดล้อม ทั้ง 5 ภาคทั่วประเทศไทย
1684 Visitor
Agricultural crop residue burning represents an important source of air pollutants in many countries, especially in developing countries (Levine et al., 1995; Badarinath et al., 2006; Zhang et al., 2011) . Especially in the Southeast Asia (Thailand, Cambodia, Indonesia, Malaysia, Vietnam, Laos, Mynamar), Agricultural crop residue burning including open field burning and forest burning contributes to regional and global climate change by producing Carbon Dioxide (CO2), Methane(CH4), Nitrous Oxide (N2O) and – of special interest near cryosphere regions – Black Carbon (BC) (black carbon warms the lower atmosphere and is the second most important contributor to global warming after carbon dioxide ), which deposits on nearby snow and ice, speeding melting. Open burning is the single largest source of black carbon globally, at 42% dwarfing all other sources (biomass burning for residential cooking and heating is 18%, diesel transport 14%). These gases increase the atmospheric temperature which, affect to the worldwide environment. In addition to depositing on nearby ice and snow, causing greater and earlier melting, set agricultural fires often burn out of control, spreading and causing forest and grassland wildfires that release additional BC as well as greenhouse gases — including methane, CO, and CO2; damage nearby sensitive ecosystems; and cause loss of human life and infrastructure. Smoke from open burning also negatively impacts human health. 
6313 Visitor
การศึกษาวิจัยภายใต้โครงการวิจัยเพื่อการจัดการหมอกควันและการลดการใช้สารเคมีในการทำการเกษตรพื้นที่สูง กรณีศึกษา ตำบลแม่นาจร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือ การลดการเผาในพื้นที่วิจัยให้ได้มากที่สุดและอย่างยั่งยืนที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อแสวงหาแนวทางการจัดการ ไร่ นา สวน ในแนวทางที่ลดการเผา และลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร เพื่อแสวงหาแนวทางการจัดการไฟป่า แบบมีส่วนร่วม และเพื่อจัดทำหมู่บ้านอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมต้นแบบ โดยกระบวนการวิจัยได้ออกแบบการวิจัยให้มีความยืดหยุ่น และสามารถใช้เครื่องมือที่หลากหลาย ทั้งการประชุมกลุ่มย่อย การศึกษาชุมชนแบบมีส่วนร่วม PRA, AIC และการวาดภาพอนาคตร่วมกัน Senario เพื่อถอดบทเรียนแนวทางการบริหารจัดการหมอกควันในพื้นที่สูงเพื่อขยายผลไปพื้นที่อื่นๆต่อไป และเป้าหมายคือการเปลี่ยนแปลงในแนวทางที่ดีขึ้น
1683 Visitor
13393 Visitor
Create a website for free Online Stores